วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559

KM : ศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนตำบลธารทหารกับการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง โดย จันทรนันท์ สุดจริง

            ความเป็นมา  หนึ่งปเีจ็ดเดือนกับการย้ายออกจากภาคอีสานมาท างานในพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างภาคกลาง ตอนบน เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในต าแหน่งพัฒนาการอ าเภอ (ผู้บริหารระดับอ าเภอ)  ณ ส า
นักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอ หนองบัว  จังหวัดนครสวรรค์ ก่อนจะย้ายมาความวิตกกังวลมีมากมายเกิดขึ้นไม่ว่าจะเป็นความห่างไกลจาก ครอบครัว การไม่คุ้นชินกับสภาพแวดล้อม วัฒนธรรมประเพณี ต่างๆของเมืองที่ได้ขึ้นชื่อว่า เมืองปากน้ าโพ ซึ่งเป็น ดินแดนของคนจีน เป็นเมืองค้าขาย วัฒนธรรมประเพณีคงจะแตกต่างจากอีสานโดยสิ้นเชิง  แต่เมื่อได้มาท างาน จริงๆ ที่นี่ (อ าเภอหนองบัว) กลับเป็นเหมือนรอยต่อระหว่างภาคอีสานกับภาคกลาง  ที่นี่อยู่กันแบบครอบครัวใหญ่ บ้านแต่ละหลังปลูกในบริเวณบ้านที่กว้าง เป็นบ้านชั้นเดียวใต้ถุนบ้านสูง บริเวณบ้านสะอาด น่าอยู่ ความมีน้ าใจ ไม่ได้แตกต่างจากชุมชนอีสาน ด้านอาหารก็คล้ายคลึงกัน ประเพณีของที่นี่ก็มีคล้ายๆกัน เช่น ประเพณีการท าขวัญ ข้าว การสู่ขวัญ ท าให้การได้มาปฏิบัติหน้าที่ที่อ าเภอหนองบัว ไม่กังวลเรื่องใดๆอีกเลย ยิ่งได้มีโอกาสได้ท างาน ร่วมกับผู้น าท้องที่ ผู้น าท้องถิ่นยิ่งรู้สึกว่า เป็นชุมชนที่อยู่สบายๆ ผู้น ามีความพร้อมค่อนข้างสูงกว่าทางภาคอีสาน  การท าความเข้าใจในงานพัฒนาชุมชนให้กับกลุ่มองค์กรต่างๆก็เข้าใจง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการทบทวน การสร้าง ความรู้ความเข้าใจ ในการด าเนินงานของศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน ต าบลธารทหาร (ศอช.ต.) น าโดยนายวิ รัตน์  บัวมหะกุล ประธานศอช.ต.ธารทหาร ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน ที่มีภาคประชาชนเข้า มาขับเคลื่อนและร่วมพัฒนาในชุมชนท้องถิ่นของตนเอง  
                จากการพูดคุย และพบปะกับทีมงาน ศอช.ต.ธารทหาร เริ่มด าเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๔๔ ทุกหมู่บ้านเป็น สมาชิก ต่อมาในปี 2551 ได้มีการปรับเปลี่ยนระเบียบการด าเนินงานของ ศอช. ได้มีการปรับโครงสร้างคณะ กรรมการบริหารศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน และคณะกรรมการส่งเสริม ศอช.ต. ต าบลธารทหาร  โดยผู้น า เครือข่าย ผู้น ากลุ่มองค์กร ภาคประชาชน และปราชญ์ ในทุกหมู่บ้าน  ในปี 255๘ ได้จัดเวทีประชาคม เพื่อ คัดเลือกคณะกรรมการบริหาร ศอช.ต.ชุดใหม่ มีนายวิรัตน์  บัวมหะกุล ประธานกลุ่มโรงสีต าบลธารทหาร (ก านัน ต าบลธารทหาร)  เป็นประธาน ศอช.ต. และมีคณะท างานส่งเสริมการด าเนินงาน ศอช.ต.ธารทหาร  ในปลายปี 255๘ ต าบลธารทหาร  ผู้น าการพัฒนาจากทุกหมู่บ้าน รวม ๒0  คน ได้เข้ารับอบรมหลักสูตร การพัฒนาผู้น า ใน เดือนธันวาคม 255๘ ณ ศูนย์ศึกษาพัฒนาชุมชนพิษณุโลก   ศอช.ต.ธารทหาร สมัครเข้าสู่ระบบมาตรฐาน งานชุมชน ( มชช.)   เพื่อพัฒนาศักยภาพและเตรียมตัวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ซึ่งท าให้คณะกรรมการ ศอช.ต.มีความผูกพัน และได้ร่วมกันขับเคลื่อนพัฒนาต าบลของตนเอง โดยเฉพาะอย่างเรื่อง การขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง จึงถือเป็นงานเด่นของต าบล โดยมีวิสัยทัศน์ “รว่มสรา้งชมุชน  สู่ความพอเพยีง”  ศอช.ต. ธารทหารมีการขับเคลื่อนตลอดมา จาก ผลงานที่เป็นแผนงานโครงการ/กิจกรรม ต่างๆ ที่ปรากฏเป็น ผลงาน น่าชื่นใจ คือการเลือกกิจกรรมส่งเสริมการด าเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นบทบาทหน้าที่ หลักข้อที่  ๓ รองลงไปคือการส่งเสริมการการลดภาวะโลกร้อนโดยการส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนในต าบลปลูกต้นไม้ ครัวเรือนละ ๑๐ ตน้ (บทบาทหลักข้อที่ ๔)และการบูรณาการจัดท าแผนชุมชนระดับต าบล ประธานได้น าพวกเรา ไปดูผลงานที่น่าภาคภูมิใจของศอชต.ธารทหาร คือการด าเนินงานส่งเสริมการท าอาชีพแบบพอเพียงของครัวเรือน เศรษฐกิจพอเพียง กรปลูกผักหวาน ของเยาวชน เป็นลูกหลานที่กลับมาท างานที่บ้าน มาท าสวนผักหวาน ตาม โครงการ”สา นึกรักบา้นเกดิ”
              ศอช.ต.ธารทหารก าหนดวิสัยทัศน์ในการท างาน คือ“รว่มสรา้งชุมชน สคู่วามพอเพยีง”และได้ก าหนด กลยุทธ์ในการท างานไว้  ๖ ข้อพร้อมเป้าหมายในการท างานด้วย กลยุทธ์ ก็คือ  ๑. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นหัวใจหลักในการขับเคลื่อนภารกิจ ศอช.ต.   ๒. ใช้พลังชุมชน สร้างชุมชนตน้แบบ สู่ความพอเพียง   ๓. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การลดภาวะโลกร้อน   ๔. ส่งเสริมสนับสนุนให้กองทุนมีการจัดสวัสดิการชุมชน   ๕. ขับเคลื่อนการบูรณาการแผนชุมชน/แผนต าบล  ๖. ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วม  จัดท าฐานข้อมูลกลุ่ม  เศรษฐกิจชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ    
เปา้หมาย ๑. ขับเคลื่อนกระบวนการจัดท าระบบฐานข้อมูล   ๒. บูรณาการจัดท าแผนชุมชนระดับต าบลและประสานแผนสู่ อปท.   ๓. สนับสนุนการด าเนินงานตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง   ๔. ส่งเสริมและพัฒนาการบูรณาการแผนชุมชน/แผนต าบล   ๕. ส่งเสริมและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การลดภาวะโลกร้อน   ๖. รณรงค์การจัดสวัสดิการแก่สมาชิกกองทุนทุกกองทุนในต าบล    ๗. ส่งเสริมให้ ศอช.ต. มีผลงานเป็นที่ประจักษ์และช่วยเหลือประชาชน   ๘. จัดท าองค์ความรู้ กลุ่มอาชีพ ไว้ในศูนย์เรียนรู้ชุมชนอาชีพต่างๆ เช่น แหล่งเรียนรู้ต้นแบบต าบลธาร ทหาร และที่ท าการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนต าบลธารทหาร   ๙. จัดท าองค์ความรู้ของชุมชน ของทุกหมู่บ้าน  ศอชต. ธารทหาร มีทุนในการขับเคลื่อน กิจกรรมต่างๆ ตามบทบาทหน้าที่ คือ
๑)ทนุมนษุย์  ศอชต.ธารทหาร  มีทุนในด้านี้สูงมาก ท าให้เป็นพลังขับเคลื่อนในการด าเนินกิจกรรมต่างๆ ของศอชต.ต าบลวังแสง ประสบผลส าเร็จ ทุนมนุษย์ในที่นี้  เช่น คณะกรรมการศอชต.มาจากทุกหมูบ้าน ที่เป็น ผู้น ากลุ่ม องค์กรในหมู่บ้านที่เข้มแข็ง เสียสละอุทิศตนในการท างานให้กับหมู่บ้าน/ตา บลประธานคณะกรรมการ พัฒนาสตรีต าบล และคณะกรรมการสตรี ที่เข้มแข็งนายกองค์การบริหารส่วนต าบล และสมาชิกอบต. ซง่ึเป็น คณะกรรมการส่งเสริมสนับสนุนศอชต.เป็นแรงผลักดันงบประมาณในการด าเนินกิจกรรมตามแผนงาน/โครงการ ของ ศอชต.มีปราชญ์ชาวบ้านผู้ถ่ายทอดภูมิปัญญา , มีผู้น า อช. ที่เข้มแข็ง ฯลฯ ๒) ทนุสงัคม ศอชต. ธารทหาร มีทุนทางสังคม เช่น, อช. ผนู้ า อช. ต าบล กลุ่ม อสม. กลุ่มสตรี, , ความรักความสามัคคี , ขนบธรรมเนียมวัฒนธรรมอันดีงาม ฯลฯ ๓) ทนุกายภาพ มี องค์การบริหารส่วนต าบล ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านธารทหาร วัดห้วยด้วน  โรงเรียนบ้านธารทหาร (แสงสว่างอุปถัมภ์) ๔) ทนุธรรมชาติ  มีสถานที่ท่องเที่ยว   1.ล าห้วยด้วน   ๒.วัดหว้ยด้วน  ๕) ทนุการเงิน ในตา บลธารทหาร  มีทุนหมุนเวียน ในหมู่บ้านรวมเป็นเงิน ดังนี้ กองทุนแก้ไขปัญหาความยากจน กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองกองทุนกลุ่ม พัฒนาสตรี กองทุนฌาปนกิจสงเคราะห์ กองทุนเครือข่ายศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน ต าบลธารทหาร เป็นต้น ผลการดา เนนิงานทผี่า่นมาของ ศนูยป์ระสานงานตา บลตา บลธารทหารทเี่ดน่ชดัน่ายกย่อง ๑.จัดเวทีบูรณาการแผนชุมชนต าบลและแผนปฏิบัติการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนต าบลได้ประสาน แผนสู่ อบต. และ อบต. บรรจุไว้ในแผน ๓ ปี (๒๕๖๐-๒๕๖๔)  อบต. เรียบร้อยแล้ว         ๒.จัดท าฐานข้อมูล กลุ่ม องค์กรต่างๆ ไว้ในศูนย์ฯ(ที่ท าการ อบต.)         ๓. สนับสนุนการด าเนินชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  สนับสนุนศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงและ ส่งเสริมการด าเนินชีวิตตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง     ๔. การส่งเสริมอาชีพตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (๖X๒) คือ ลดรายจ่าย เพิ่มรายไดั การท าบัญชี ครัวเรือน การส่งเสริมอาชีพ เช่น สวนผักหวาน        ๕. ได้รับคัดเลือกเป็นศูนย์ประสานงานองค์การชุมชนดีเด่นระดับอ าเภอ  ปี ๒๕๕๙
ประโยชน์ทปี่ระชาชนไดร้บั     ๑.เกิดการเรียนรู้ร่วมกันของชุมชน เกิดความสามัคคีในชุมชน ๒.มีแหล่งบริการข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่นและเป็นศูนย์รวมองค์ความรู้ของชุมชน ๓.เปิดโอกาสให้ทุกคนในชุมชน พบปะ พูดคุย สังสรรค์ จัดกิจกรรม ต่าง ๆ ร่วมกัน 4.  เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ที่เกิดขึ้นทั้งในและนอกพื้นที่ให้ทุกหมู่บ้านได้รู้จัก  
ปัจจยัทที่ าใหศ้นูย์ประสานงานองคก์ารชมุชนต าบลธารทหารประสบความสา เรจ็ ๑.คณะกรรมการมีความรู้ ความสามารถและเข้าใจในบทบาทหน้าที่            ๒.การสนับสนุนจากองค์การบริหารส่วนต าบล  และเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานในพื้นที่ให้การสนับสนุน  ๓.ประชาชน/กลุ่มองค์กรเครือข่ายในต าบลมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม ศอชต.  4.คณะกรรมการมีความเสียสละ อุทิศตนต่องานและส่วนรวม
เจา้ของผลงาน   นางจันทรนนัท์  สดุจรงิ ตา แหนง่ พฒันาการอา ภอหนองบัว
สงักัด  ส านกังานพฒันาชมุชนอา เภอหนองบวั  จงัหวดันครสวรรค์

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น