วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2559

KM : กระบวนการจัดทำแผนชุมชน โดย เอื้องทิพย์ ฑีฆาวงค์

              ความหมายของแผนชุมชนคือ ผลของการบริหารจัดการให้ชุมชน เรียนรู้จนสามารถก าหนดเป้าหมาย ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วมของคนทั้งชุมชน ให้ร่วมกันคิด ตัดสินใจ น าแนวทางไปใช้ในการด ารง
ชีวิตของคน ในชุมชน ทั้งระดับครอบครัวและชุมชนเพื่อให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นในอนาคต โดยก าหนดเป็นกิจกรรมโครงการ ในลักษณะที่ชุมชนท าได้เองทันทีด้วยความสามารถและศักยภาพของชุมชน หรืออาศัยความสามารถร่วมกันกับ หน่วยงานสนับสนุนอื่น ๆ ในการด าเนินการร่วมกันหรืออาจยกให้เป็นภาระของหน่วยงานภายนอกชุมชนเป็น ผู้ด าเนินการ ในกิจกรรม/โครงการ ที่เกินขีดความสามารถของชุมชน เพื่อผลการพัฒนา ป้องกันและแก้ไข ปัญหาของชุมชนสู่จุดมุ่งหมายของการเป็นชุมชนที่เข้มแข็ง อยู่เย็น เป็นสุข ความจ าเป็นที่ต้องให้ความส าคัญ กับแผนชุมชน เพราะเป็นกระบวนการเสริมสร้างการเรียนรู้ของคนในชุมชน ท าให้รู้จักตัวตนของตนเองและ ชุมชน สร้างพลังความสามัคคีในชุมชนท าให้ชุมชนใช้ประสบการณ์และความรู้ร่วมกันก าหนดทิศทาง แนว ทางการพัฒนาชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สามารถด าเนินการเพื่อตอบสนองความต้องการ เหมาะสมกับ สภาพพื้นที่และสถานการณ์มีกระบวนการแก้ไขปัญหาที่สาเหตุของปัญหามีเป้าหมายความส าเร็จที่ชัดเจน เชื่อมโยงรองรับนโยบายการพัฒนาของประเทศ และก าหนดระยะเวลาเพื่อความส าเร็จของเป้าหมายในการ ด าเนินการได้ทั้งยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาและการเชื่อมประสานภาคีการพัฒนา ทั้งภาครัฐบาลและ เอกชนในการสนับสนุนงบประมาณและวิชาการ หรืออื่น ๆ ได้ด้วยเป้าหมายของการจัดกระบวนการแผน ชุมชน เพื่อเสริมสร้างให้คนในชุมชนมีความสามารถในการบริหารจัดการตนเองและชุมชนได้มีขั้นตอนส าหรับ การท างานเพื่อตอบสนองความต้องการของชุมชน มีลักษณะรายละเอียดโครงการ/กิจกรรมที่ชุมชนปฏิบัติได้ ด้วยความสามารถและศักยภาพของคนในชุมชนเองโดยพึ่งพาภายนอกให้น้อยที่สุด มีหลักมีแนวทางในการ ปฏิบัติงานให้เกิดผลตามเป้าหมายคือ ชุมชนพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน หรือแม้กระทั่งสามารถน าเสนอแผนต่อ หน่วยงานและรับการสนับสนุน งบประมาณ วิชาการหรือเรื่องอื่นใด ในส่วนที่เกินความสามารถของชุมชนเพื่อ ใช้ด าเนินกิจกรรมให้บรรลุวัตถุประสงค์
๒. บันทึกขุมความรู้(Knowledge Assets) กระบวนการจัดท าแผนชุมชน 5 ขั้นตอน ขั้นตอนที่ 1  - เตรียมความพร้อมชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกันของทีมท างานในชุมชน - ประชุม/พูดคุย/แลกเปลี่ยน ท าความเข้าใจร่วมกันในทีมงานเตรียมข้อมูลชุมชน (จปฐ กชช.2ค ข้อมูลศักยภาพชุมชน บัญชีครัวเรือน ฯลฯ)  - ประมวลสภาพชุมชนเบื้องต้น แนวนโยบายแห่งรัฐ / ยุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขท าความเข้าใจเกี่ยวกับ แนวคิด วิธีการ ขั้นตอน การจัดกระบวนการแผนชุมชน ประโยชน์ของแผนชุมชนคุณภาพแผนชุมชน (6 ตัวชี้วัด) - เตรียมการจัดเวทีประชาคม (จ านวนเวทีประชาคม / ผู้เข้าร่วม /บทบาทของผู้เข้าร่วม)
- แผนปฏิบัติการของทีมแกนน าเพื่อจัดกระบวนการแผนชุมชน ผลลัพธ์ของขั้นตอนที่ 1 : ทีมงานท าแผนชุมชนมีความเข้าใจและพร้อมจัดกระบวนการแผนชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 การวิเคราะห์ข้อมูล การเรียนรู้ตนเองและชุมชน เพื่อให้เกิดความเข้าใจสภาพชุมชน ในปัจจุบัน - เรียนรู้ประวัติความเป็นมาของชุมชน ตั้งค าถามกระตุกใจเพื่อการเรียนรู้ - ส ารวจ / วิเคราะห์เรียนรู้ข้อมูลชุมชนวิเคราะห์ข้อมูลชุมชน อาทิ จปฐ. กชช.2ค บัญชีครัวเรือน ข้อมูลศักยภาพชุมชน วิเคราะห์ผลกระทบที่มีต่อชุมชนจากการเปลี่ยนแปลงภายนอกในทุกระดับ (ประเทศ โลก)และทุกมิติ (เศรษฐกิจ สังคม การเมือง) - วิเคราะห์สภาพชุมชน (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) เพื่อรู้ศักยภาพของตนเองและชุมชน รู้ โอกาสในการพัฒนา และรู้ข้อจ ากัด - วิเคราะห์สภาพปัญหาและหาสาเหตุของปัญหาของชุมชน แนวโน้ม ผลที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนใน อนาคต ผลลัพธ์ของขั้นตอนที่ 2 : ชุมชนมีความเข้าใจในสภาพและศักยภาพของตนเอง
ขั้นตอนที่ 3 ก าหนดวิสัยทัศน์และทิศทางการพัฒนา ได้เป้าหมายและทิศทางการพัฒนาของหมู่บ้าน มองเห็นอนาคต สะท้อนถึงตัวตนที่ต้องการจะเป็นใน 5 – 10 ปีข้างหน้า - ก าหนดเป้าหมายการพัฒนาหมู่บ้าน (วิสัยทัศน์) และทิศทางการพัฒนาตามศักยภาพของหมู่บ้าน - ก าหนดการพัฒนาอาชีพและแหล่งรายได้เพื่อสร้างรายได้ให้ชุมชนตามศักยภาพชุมชน และกลไก การตลาด - ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ก าหนดประเด็นหลักในการพัฒนาตามยุทธศาสตร์ - ก าหนดเป้าหมายการพัฒนาตามประเด็นหลัก - ก าหนดวิธีการพัฒนาตามประเด็นหลัก เพื่อท าให้บรรลุยุทธศาสตร์ ผลลัพธ์ของขั้นตอนที่ 3 : มีเป้าหมายและทิศทางการพัฒนาหมู่บ้าน
ขั้นตอนที่ 4 ก าหนดแผนงาน/โครงการ โดยมีการจัดประเภทของกิจกรรม การจัดล าดับความส าคัญ รวมถึงการประชาพิจารณ์แผนชุมชน เพื่อให้ได้แผนชุมชนที่เป็นของชุมชนอย่างแท้จริง สามารถ น าไปใช้ ประโยชน์และน าไปสู่การบรรลุวิสัยทัศน์ที่วางไว้ - ก าหนดแผนงาน/โครงการ โดยพิจารณาจาก อัตลักษณ์ของชุมชน - ก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนา ศึกษายุทธศาสตร์อยู่ดีมีสุขเป็นแนวทางประกอบพิจารณา ก าหนด โครงการ/กิจกรรม เพื่อให้บรรลุยุทธศาสตร์การพัฒนาด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง - แยกประเภทโครงการ/กิจกรรม (ท าเอง ท าร่วม ท าให้) - จัดล าดับความส าคัญของโครงการ/กิจกรรม ร่างแผนชุมชน ประชาพิจารณ์แผนชุมชน ผลลัพธ์ของขั้นตอนที่ 4 : แผนงาน/โครงการ เพื่อบรรลุเป้าหมายการพัฒนา
ขั้นตอนที่ 5 ปฏิบัติการตามแผนชุมชน เพื่อขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนตามแผนชุมชน - จัดตั้งคณะท างานปฏิบัติตามแผนชุมชน (เพื่อรับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมตามยุทธศาสตร์อยู่ดีมี สุข/กิจกรรมท าเอง/กิจกรรมท าร่วม/กิจกรรมขอรับการสนับสนุน) - จัดองค์กรส าหรับรับผิดชอบการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์/โครงการ/กิจกรรม - จัดระบบการบริหารจัดการเพื่อการพัฒนาของชุมชน ประสานภาคีการพัฒนา/หน่วยสนับสนุน
- วางแผนก าหนดรูปแบบการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติตามแผนชุมชน ผลลัพธ์ของขั้นตอนที่ 5 : การขับเคลื่อนการพัฒนาชุมชนตามแผนชุมชน
อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ขาดไม่ได้คือการประเมินผลในทุกระยะ เพื่อจะได้ปรับการท างานให้เกิดประโยชน์ ต่อชุมชนอย่างแท้จริง และมีการปรับแผนชุมชนอย่างเป็นระบบ ตามความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในแต่ละห้วง เวลา
๓. แก่นความรู้Core Competency) ๑. สร้างความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๒. สนับสนุนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม ๓. สนับสนุนการด าเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ๔. การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
๔. กลยุทธ์ในการท างาน ๑. ตรวจสอบจ าแนกสถานะครัวเรือนยากจนตามเกณฑ์การประเมินที่ก าหนด ๒. จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๓. สนับสนุนให้ชุมชนด าเนินชีวิตตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง เช่น ท าบัญชีครัวเรือน ปลูกผักสวน ครัว ไว้กินเอง สามารถพึ่งตนเองและชุมชนได้อย่างยั่งยืน ๔. ประเมินผลการด าเนินงาน ๕. เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ เช่น การท าแผ่นพับ การท าเอกสารรูปเล่ม
๕. แนวคิด/ความรู้ที่น ามาใช้ ๑. การจัดการความรู้ ๒. หลักการพัฒนาชุมชน ๓. กระบวนการมีส่วนร่วม ๔. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ๕. การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้
 ชื่อ-นามสกุล นางสาวเอื้องทิพย์  ฑีฆาวงค์ ต าแหน่ง นักวิชาการพัฒนาชุมชนปฏิบัติการ
สังกัด ส านักงานพัฒนาชุมชนอ าเภอเมืองนครสวรรค์ เบอร์โทรศัพท์ ๐๘-1604-9342

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น